วันพฤหัสบดีที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

เครื่องหมายเปรียบเทียบ

ชุดคำสั่ง if

เป็นคำสั่งที่ให้ทำงาน คำสั่งใดคำสั่งหนึ่งโดยมีเงื่อนไขให้ตัดสินใจ อย่างใดอย่างหนึ่งก่อน แล้วจึงจะลงมือทำงาน โดยผลของการ ตัดสินใจมีโอกาสเป็นไปได้ 2 ทางคือ

1. จริงหมายความว่า  มีค่าไม่เท่ากับศูนย์

2. ไม่จริงหมายความว่่า  มีค่าเท่าศูนย์



กฏการใช้คำสั่ง for

1.  ค่าที่เพิ่มขึ้นในแต่ละรอบของตัวแปรควบคุมนั้นจะเป็นเท่าไหร่ก็ได้

2.  ค่าของตัวแปรควบคุมอาจถูกกำหนดให้ลดลงก็ได้

3.  ตัวแปปควบคุมอาจจะเป็น character ก็ได้

4.  ตัวแปรควบคุมสามารถมีได้มากกว่า 1 ตัวแปร

5.  ในคำสั่ง for สามารถมีคำสั่ง for ซ้อนอยู่ภายในได้อีก



เครื่องหมายเปรียบเทียบ (Relational and Logical Operators)

 หมายถึง เครื่องหมายที่ใช้ในการเปรียนเทียบและตัดสินใจซึ่งผลของการเปรียบเทียบจะได้เป็น  2 กรณี คือ
       1. จริง จะให้ค่าเป็น 1

       2.  เท็จ จะให้ค่าเป็น 0



เครื่องหมายตรรกะ (Logical Operators)

 1. && (AND) หมายถึง การนำเงื่อนไข 2 เงื่อนไขมาเปรียบเทียบกันแล้วจะได้ผลของการเปรียบเทียบตามตารางต่อไปนี้

                                   
  
P
Q
P&&Q
0

0

1

1
0

1

0

1
0

0

0

1












2. ll  (OR)

หมายถึง  การนำเงื่อนไข 2 เงื่อนไขมาเปรียบเทียบกันแล้วจะได้ผลของการเปรีบยเทียบตามตารางต่อไปนี้


P
Q
P ll Q
0

0

1

1
0

1

0

1
0

1

1

1


















บรรณานุกรม


    รศ.มัณฑนา  ปราการสมุทร ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , ชื่อหนังสือ การเขียนชุดคำสั่งภาษา C , สำนักพิมพ์ ดวงกมลสมัย , หน้าอ้างอิง หน้า 39, 77, 98-99







วันอังคารที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

การออกแบบโปรแกรม


การทำซ้ำ
การทำซ้ำ (Iteration)  ก็คือคำสั่งใหโปรแกรมทำงานย่อยอย่างใดอย่างหนึ่งวนไปวนมาเรื่อยๆจนกระทั่งครบตามจำนวนครั้งหรือตามเงื่อนไขที่เรากำหนดไว้  การทำซ้ำนั้นมีอยู่ด้วยกัน 2 ลักษณะ คือ

 1).  แบบมีจำนวนรอบที่แน่นอน

 2).  แบบใช้เงื่อนไขเป็นตัวตัดสินว่าจะทำซ้ำต่อไปหรือไม่


คำสั่ง For
คำสั่ง for นี้จะใช้ในกรณีที่เราต้องการทำซ้ำโดยทราบจำนวนครั้งที่เราต้องการ เช่น ถ้าต้องการทำ 10 ครั้ง 20 ครั้ง หรือ 30 ครั้ง เรามักจะให้คำสั่ง for


While และ do..while
การใช้คำสั่ง while และ do..while  จะต่างจากคำสั่ง for เล็กน้อยตรงที่การทำซ้ำแบบนี้  ไม่จำเป็นต้องบอกถึงจำนวนรอบของการทำซ้ำ แต่จะทำซ้ำไปเรื่อยๆจนกว่าเงื่อนไข จะเป็นเท็จ


ข้อมุลที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม

1.  Integer  คือ  จำนวนเต็ม

2.  Real  คือ  ทศนิยม

3.  String  คือ  ข้อความ

4.  Char  คือ  ตัวอักษร


ตัวอย่าง

1.  ปรับตัวเลข Num ให้มีค่าเป็นจำนวนเต็ม ถ้าต้องประกาศตัวแปร Num ต้องประกาศเป็นตัวแปรชนิดใด
     ตอบ  Integer

2.  กำหนดให้หาค่าของพื้นที่สามเหลี่ยม โดยพื้นที่สามเหลี่ยมมีค่า Pi = 3.12579 จะต้องประกาศตัวแปรชนิดใด
     ตอบ  Real

3.  ให้รับค่าชื่อเข้ามา โดยให้ใส่ตัวแปรชื่อ Name  ถ้าต้องการประกาศตัวแปร Name ต้องประกาศตัวแปรชนิดใด
    ตอบ  Integer



ตารางตรรกะ

A && B
A ll  B
A
B
A  and  B
A  or B
T
T
T
T
T
F
F
T
F
T
F
T
F
F
F
F

ตัวอย่าง

a = 10   b = 20  c = 15

1. ( a > b )  &&  ( b <= c )
     10 > 20  &&   20<=15
         T        &&        F
                     F


2. ( a <= b ) ll ( b < c )
   10 <= 20  ll  20 < 15
          F       ll       F
                   F

3. ( a = b )  &&  ( b = c )
    10 = 20   &&   20 = 15
        F         &&       F
                     F




ลำดับความสำคัญ
โอเปอร์เรเตอร์
ลำดับของโอเปอร์เรชั่น
1
(  )
ซ้ายไปขวา
2
1,++,--  (!not)
ขวาไปซ้าย
3
^ ยกกำลัง
ขวาไปซ้าย
4
+ ,  / , %
ซ้ายไปขวา
5
+ , -
ซ้ายไปขวา
6
< , < = , > , >=
ซ้ายไปขวา
7
=, !=  (ไม่เท่ากับ)
ซ้ายไปขวา
8
&& , and
ซ้ายไปขวา
9
ll (or)
ซ้ายไปขวา
10
*=,/=,%=,+=,-=
ซ้ายไปขวา


ตัวอย่าง

1.)  1*3/3*20%5  = 0



2.)  3+8*2-8(4-2)/2-2^2+(5-3)
      = 3+8*2-8*2/2+4+2
      = 3+16-16/2+4+2
      = 19-16 / 2+4+2
      = 11+4+2
      = 17




^_______อ้างอิง_______^

1.) หนังสือคู่มือเขียนโปรแกรม  ผู้เขียน : นิรุธ  อำนวยศิลป์  (หนังสือห้องสมุดคณะ)

2.) ความรู้จากการจดบันทึกเวลาเรียน  ผู้สอน : อาจารย์ตวงสิทธิ์  สนขำ